Home : PDPA Workshop

โดย ประยุทธ พันธุลาภ

สารบัญ

หัวข้อLink
Home : หน้าแรก Link Home
ตัวอย่างเอกสาร Link ตัวอย่างเอกสาร
หมวด และมาตรา Link หมวด และมาตรา
Q&A ตอบคำถาม Link Q&A
Resources Link Resources


Link for PDPA-Story ภาพรวม

กฏหมายที่เกี่ยวข้อง


บังคับใช้ พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) 1 มิถุนายน พ.ศ.2565


ไฟล์ PDF

- พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562
[Click to Open]


- Unofficial Translation Personal Data Protection Act 2562
[Click to Open]


- การยกเว้นการบันทึกรายการของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งเป็นกิจการขนาดเล็ก พ.ศ.2565
[Click to Open]


- หลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทำและเก็บรักษาบันทึกรายการของกิจกรรมการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2565
[Click to Open]


- มาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2565
[Click to Open]


- หลักเกณฑ์การพิจารณาออกคำสั่งลงโทษปรับทางปกครองของคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ พ.ศ. 2565
[Click to Open]




- กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้อง
[Click to Open]


- (New) เอกสารความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
[Click to Open]


- ร่างกฎหมายลำดับรอง
[Click to Open]


-ประกาศกระทรวงดิจิทัล_มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล 2563 [Click to Open]

-ประกาศคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทำและเก็บรักษาบันทึกรายการของกิจกรรมการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล 2565
[Click to Open]


-ประกาศกระทรวงดิจิทัล มาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล 2565
[Click to Open]


- เอกสารแม่แบบ PDPA สำหรับการดำเนินการ ของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลภาครัฐ
[Click to Open]


- พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562
[Click to Open]


- (ตัวอย่าง) สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี : แนวนโยบายและแนวปฏิบัติความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ และ access control
[Click to Open]


เลื่อนการบังคับใช้ PDPA

- ประกาศ "22 หน่วยงานและกิจการ" ไม่ต้องอยู่ภายใต้ พ.ร.บ.ข้อมูลส่วนบุคคล 2562( ถึง 31 พ.ค. 2564) [Click to Open]
- ประกาศ "22 หน่วยงานและกิจการ" ไม่ต้องอยู่ภายใต้ พ.ร.บ.ข้อมูลส่วนบุคคล 2562( ถึง 31 พ.ค. 2565) [Click to Open]


ถ้าไม่ปฏิบัติตาม พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA)


ที่มาของ พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA)




คณะกรรมการ




1) ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร
  • ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร
  • ตั้งงบประมาณ
2) แต่งตั้ง DPO หรือ คณะทำงาน
  • แต่งตั้ง DPO ถ้าเป็นองค์กรใหญ่ หรือ
  • แต่งตั้งคณะทำงาน ถ้าเป็นองค์กรขนาดเล็ก
3) สำรวจข้อมูล
  • สำรวจข้อมูลส่วนบุคคลในทุกฝ่าย
  • กำหนดประเภทของข้อมูลส่วนบุคคล
  • ระบุวัตถุประสงค์
  • ระบุความจำเป็น
4) ทบทวน นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
  • บริหารจัดการ
  • การเข้าถึงข้อมูล
  • life-cycle ของข้อมูล
5) จัดเตรียมข้อกำหนด หรือแนวปฏิบัติ
  • จัดเตรียมข้อกำหนด หรือแนวปฏิบัติ
  • การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
6) จัดทำมาตรฐาน security
  • จัดทำเอกสารมาตรฐาน security
7) พัฒนากระบวนการแจ้งเตือน (Data Breach Notification)
  • พัฒนากระบวนการแจ้งเตือน
  • การรั่วไหลหรือละเมิดมาตรการความมั่นคงปลอดภัยต่อ ข้อมูลส่วนบุคคลมีความหมายกว้างครอบคลุมการที่ข้อมูล ถูกทำลาย การสูญหาย การแก้ไขเปลี่ยนแปลง การเปิดเผย หรือการเข้าถึง ส่งต่อ เก็บ รักษาหรือถูกประมวลผลอย่างอื่นไม่ว่าจะเกิดจากการกระทำอันมิชอบด้วยกฎหมาย หรือโดยอุบัติเหตุ
  • แจ้งสำนักงานฯกรณีข้อมูลส่วนบุคคลรั่วไหล ภายใน 72 ชั่วโมงนับแต่ได้ทราบ เว้นแต่เหตุที่เกิดนั้นไม่น่าจะก่อให้เกิดความเสี่ยงใดๆ ต่อสิทธิและเสรีภาพของเจ้าของข้อมูล กรณีที่ไม่อาจแจ้งเหตุได้ภายใน 72 ชั่วโมง ผู้ ควบคุมจะต้องแจ้งเหตุผลแห่งการแจ้งเหตุล่าช้าด้วย
  • ผู้ควบคุมข้อมูลมีหน้าที่แจ้งเจ้าของข้อมูลโดยไม่ชักช้า ต่อเมื่อการรั่วไหลของข้อมูลนั้นก่อให้เกิดความเสี่ยงสูงต่อสิทธิเสรีภาพของเจ้าของ ข้อมูล ในกรณีเช่นว่านี้จะต้องแจ้งให้เจ้าของข้อมูลทราบด้วยภาษาที่เข้าใจง่ายและมี ความชัดเจนและมีรายละเอียดอย่างน้อยดังต่อไปนี้
    (a) คำอธิบายลักษณะของการรั่วไหลของข้อมูล
    (b) ชื่อหรือข้อมูลการติดต่อเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบหรือ (ถ้ามี) เจ้าหน้าที่คุ้มครอง ข้อมูล (Data Protection Officer)
    (c) ผลที่อาจจะเกิดขึ้นจากการที่ข้อมูลรั่วไหล
    (d) มาตรการที่เสนอแนะให้เจ้าของข้อมูลกระทำเพื่อรับมือกับกรณีดังกล่าวที่ อาจจะลดผลร้ายที่อาจเกิดจากการที่ข้อมูลรั่วไหลได้
  • ผู้ควบคุมข้อมูลดำเนินการหาสาเหตุและมาตรการเยียวยา รวมถึงติดตามผลการดำเนินงานการแก้ไขปัญหาการรั่วไหลของข้อมูล
8) สร้างความตระหนักในองค์กร
  • ประกาศของบริษัทแจ้งพนักงาน
  • ให้ความรู้กับพนักงานภายในองค์กรเกี่ยวกับข้อกฎหมาย ความสำคัญของ PDPA ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น และโทษสูงสุด
9) พัฒนาทักษะ และการตรวจประเมิน
  • กำหนดแนวทางการตรวจประเมิน
  • พัฒนาทักษะในการตรวจประเมิน
10) PDPA by design และ Security by design
  • PDPA by design
  • Security by design

ตัวอย่าง PDPA Data

ประเภทข้อมูล ตัวอย่างข้อมูลส่วนบุคคล
รายละเอียดส่วนบุคคล
  • ชื่อ, ชื่อกลาง, นามสกุล
  • ชื่อเล่น, นามแฝง
  • วันเดือนปีเกิด
  • เพศ
  • อายุ
  • การศึกษา
  • สถานภาพสมรส
  • สัญชาติ (มาตรา 26)
  • เชื้อชาติ (มาตรา 26)
รายละเอียดการติดต่อ
  • หมายเลขโทรศัพท์
  • ที่อยู่ติดต่อทางไปรษณีย์
  • ที่อยู่อิเล็กทรอนิกส์
  • หมายเลขโทรสาร
  • บัญชี Facebook, LINE เป็นต้น
รายละเอียดที่ใช้ในการระบุตัวตน
และการยืนยันตัวตน
  • ภาพถ่ายบัตรประจำตัวประชาชน
  • เลขประจำตัวประชาชน
  • ลายมือชื่อ
  • ข้อมูล passport
  • ใบอนุญาตขับยานพาหนะ
รายละเอียดการทำงาน
  • อาชีพ
  • รายละเอียดเกี่ยวกับบริษัทนายจ้าง
  • ตำแหน่ง
  • เงินเดือน
  • ค่าตอบแทน
ข้อมูลการวิจัยตลาด ข้อมูลการตลาดและยอดขาย
  • การสำรวจความคิดเห็นลูกค้า
  • ข้อมูลและความเห็นที่แสดงออกเมื่อเข้าร่วมวิจัยตลาด
  • รายละเอียดบริการที่ลูกค้าได้รับและความต้องการของลูกค้า
ข้อมูลส่วนบุคคลอ่อนไหว
(มาตรา 26)
  • เชื้อชาติ
  • เผ่าพันธุ์
  • ความคิดเห็นทางการเมือง
  • ความเชื่อในลัทธิ
  • ศาสนาหรือปรัชญา
  • พฤติกรรมทางเพศ
  • ประวัติอาชญากรรม
  • ข้อมูลสุขภาพ
  • ความพิการ
  • ข้อมูลสหภาพแรงงาน
  • ข้อมูลพันธุกรรม
  • ข้อมูลชีวภาพ
  • หรือข้อมูลอื่นใด ซึ่งกระทบต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในทำนองเดียวกันตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด
ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย
  • รูปภาพ
  • ลักษณะรูปพรรณสัณฐานบุคคล
  • การตรวจพบข้อสงสัยหรือกิจกรรมที่ผิดปกติ
  • ภาพถ่ายหรือภาพเคลื่อนไหวผ่านกล้องโทรทัศน์วงจรปิด
  • บันทึกวีดีโอ
ข้อมูลทางภูมิศาสตร์และข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรม
  • ตำแหน่ง GPS ของลูกค้า
  • พฤติกรรมการชับยานพาหนะของลูกค้า




Overview and Action Plan









Links เอกสารเพิ่มเติม

กฎหมายดิจิตอลมีทั้งหมด 10 ฉบับ

  • 1. พ.ร.บ. กรรมการดิจิตอลเพื่อเศรษฐกิจฯ
  • 2. พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง เพื่อเศรษฐกิจฯ
  • 3. พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ Link 2544 ฉบับ 1 ฉบับ 2 ,ฉบับ 3 , ฉบับ 4
  • 4. พ.ร.บ. กระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Link 2550 , Link 2560
  • 5. พ.ร.บ. รักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ Link
  • 6. พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล Link 2562
  • 7. พ.ร.บ. ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิตอล
  • 8. พ.ร.บ. กองทุนพัฒนาดิจิตอลเพื่อเศรษฐกิจฯ
  • 9. พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการฯ
  • 10. พ.ร.ฎ. จัดตั้งสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
  • ร่างพระราชบัญญัติ การพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัล
EDTA Link กฎหมายดิจิตอล

# เทคนิคการอ่านกฎหมาย (ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)
โดย นายมานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ
อดีต อธิบดี ผู้พิพากษาศาลอาญากรุงเทพใต้

# ประมวลรัษฎากร มาตรา 105 ใบรับ ใบกำกับภาษี
# ประกาศกระทรวงมหาดไทย สัญญาจะซื้อจะขายห้องชุด

  ไปที่ สารบัญ [คลิก]

Popular posts from this blog

Examples : PDPA Workshop